TOP

แผ่นดินไหวที่นิวซีแลนด์ ยกก้นทะเลขึ้นมาบนบกสูงถึง 2 เมตร

แผ่นดินไหวที่นิวซีแลนด์ขนาด 7.8 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 ที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดดินถล่มและสินามิ ดันก้นทะเลขึ้นมาบนบกสูงถึง 2 เมตร

แผ่นดินไหวที่นิวซีแลนด์ ยกก้นทะเลขึ้นมาบนบก

ประเทศนิวซีแลนด์นั้นมีภูมิประเทศตั้งอยู่บนแผ่นออสเตรเลียและแผ่นแปซิฟิก ทำให้มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นถึง 15,000 ครั้งต่อปี  และแผ่นดินไหวครั้งล่าสุดที่ที่นิวซีแลนด์ขนาด 7.8 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2559 ที่ผ่านมา มีความรุนแรงมากพอที่จะดันแผ่นเปลือกโลกที่เคยเป็นก้นทะเลมาก่อน ขึ้นมาอยู่บนบกสูงถึง 2 เมตร

(ซ้าย) แผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย (ขวา) แผ่นเปลือกโลกแปซิฟิก (ภาพจาก: Wikipedia)

(ซ้าย) แผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย (ขวา) แผ่นเปลือกโลกแปซิฟิก (ภาพจาก: Wikipedia)

เป็นเรื่องปกติที่จะเกิดการชนกันของแผ่นเปลือกโลกต่างๆ แล้วทำให้แผ่นเหล่านั้นเกิดการยกตัวขึ้นมา เช่น การเกิดยอดเขาเอเวอร์เรส ทวีปอเมริกาใต้กับทวีปแอฟริกา สามารถนำมาต่อกันได้เหมือนต่อจิ๊กซอว์ และการชนกันหรือการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกเหล่านั้นก็จะทำให้เกิดแผ่นดินไหวหากมีพลังงานมากพอ

(ภาพจาก: The New Zealand Defence Force)

(ภาพจาก: The New Zealand Defence Force)

(ภาพโดย: คุณ Anna Redmond)

(ภาพโดย: คุณ Anna Redmond)

(ภาพโดย: คุณ Anna Redmond)

(ภาพโดย: คุณ Anna Redmond)

(ภาพโดย: คุณ Anna Redmond)

(ภาพโดย: คุณ Anna Redmond)

ปรากฎการณ์นี้แสดงให้เห็นว่า แผ่นเปลือกโลกหรือแผ่นดินรวมถึงผืนมหาสมุทรที่เราอาศัยอยู่นั้น ไม่ได้อยู่นิ่งๆ เลย มันขยับตัวและเคลื่อนไหวตลอดเวลาถึงแม้ว่าจะด้วยอัตราที่ช้ามากก็ตาม

จุดศูนย์กลางแผ่นดิวไหว ห่างจากเมือง Leithfield ออกไป 56 กิโลเมตร

จุดศูนย์กลางแผ่นดิวไหว ห่างจากเมือง Leithfield ออกไป 56 กิโลเมตร

อ้างอิง: Popular Science

0/5 (0 Reviews)

ผู้ร่วมก่อตั้งชมรม SCIREN ชอบการทำสื่อและการตลาด ชอบวิทยาศาสตร์เป็นชีวิตจิตใจ

error: